กลศาสตร์งานยก 2022 คอร์สออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันในเรื่องของการยก โดยใช้เครน(ปั้นจั่น) มีการตระหนักถึงอันตรายมากขึ้น และได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อทำให้การยกในลักษณะต่างๆ มีความปลอดภัยมากขึ้น โดยทางบริษัทฯ ได้มีการเปิดสอนในหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับเครน(ปั้นจั่น) ในเนื้อหาที่นอกเหนือจากการอบรมตามกฎหมาย หลายหลักสูตร โดยเฉพาะในหลักสูตรนี้กลศาสตร์ของงานยก จะเป็นการรวบรวมความรู้ในหลากหลายส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทำงานปั้นจั่น อาทิเช่น การทำแผนการยก การคำนวณ เพื่อทำให้การทำงานกับรถปั้นจั่น และ ปั้นจั่นในโรงงาน ที่มีความเสี่ยงมีความปลอดภัยมากขึ้น
กำหนดการ |
เนื้อหาการอบรม วันแรก |
10.00 – 12.00 |
Section A.
1. คำนวณการยกแบบ 2 ถึง 4 ขา ( 2 to 4 Legs Lifting) 2. การหาจุด C.G. ของชิ้นงาน 3. การเลือกใช้ หูยก (Pad Eye) และ คานยก (Lifting Beam) การอ่านค่ารับแรงสลิงตามมาตรฐาน BS-EN 13414-1 |
12.00 – 13.00 |
—————————– พักเบรก—————————– |
13.00 – 15.00 |
Section B.
4. คำนวณการยกเมื่อจุดศูนย์ถ่วงไม่ได้อยู่ตรงกลาง 5. การใช้งานสลิงผ้าตามมาตรฐาน DIN-EN 1492-1 และ ASME 30-9 6. การใช้งานสเก็น(Shackle) มาตรฐาน ASME 30-26 7. การยกตู้คอนเทนเนอร์มาตรฐาน RPP 40736 เสถียรภาพของการยก(Lifting Stability) |
กำหนดการ |
เนื้อหาการอบรม วันที่สอง |
10.00 – 12.00 |
Section C.
10. กฎกระทรวงฯ ปี 64 ที่เกี่ยวข้องการทำแผนการยก 11. ตารางเลือกใช้รถเครน สำหรับทำการยกแบบต่างๆ 12. วิธีเขียนรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่ทำการยก ขนาด ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วง 13. การหาอัตราส่วนของน้ำหนักที่จะยก กับพิกัดเครน 14. การใส่ข้อมูลในแบบฟอร์มทำแผนการยก 15. การแรงกดที่ขาเครนสูงสุด (Outrigger Reaction Force) 16. วิธีหาความสามารถในการรับน้ำหนักของพื้นที่รองรับเครน (Ground Bearing Pressure) 17. การหาขนาดแผ่นรองขาเครน (Crane Mat Size) |
12.00 – 13.00 |
—————————– พักเบรก—————————– |
13.00 – 15.00 |
Section D.
18. กฎพื้นฐานความปลอดภัยในการทำงานกับปั้นจั่น 19. การประเมินความเสี่ยงในการปฎิบัติงานกับปั้นจั่น 20. การจัดการความเสี่ยงสำหรับการทำงานแบบประจำ และไม่ประจำ 21. Site Review 22. การเตรียมงานก่อนทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น 23. อันตรายที่เกิดขึ้นรอบๆพื้นที่ตั้งปั้นจั่น |
Section A. (2 ชม.)
1. คำนวณการยกแบบ 2 ถึง 4 ขา ( 2 to 4 Legs Lifting)
2. การหาจุด C.G. ของชิ้นงาน
3. การเลือกใช้ หูยก (Pad Eye) และ คานยก (Lifting Beam)
4. การอ่านค่ารับแรงสลิงตามมาตรฐาน BS-EN 13414-1
Section B. (2 ชม.)
5. คำนวณการยกเมื่อจุดศูนย์ถ่วงไม่ได้อยู่ตรงกลาง
6. การใช้งานสลิงผ้าตามมาตรฐาน DIN-EN 1492-1 และ ASME 30-9
7. การใช้งานสเก็น(Shackle) มาตรฐาน ASME 30-26
8. การยกตู้คอนเทนเนอร์มาตรฐาน RPP 40736
9. เสถียรภาพของการยก(Lifting Stability)
Section C. (2 ชม.)
10. กฎกระทรวงฯ ปี 64 ที่เกี่ยวข้องการทำแผนการยก
11. ตารางเลือกใช้รถเครน สำหรับทำการยกแบบต่างๆ
12. วิธีเขียนรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่ทำการยก ขนาด ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วง
13. การหาอัตราส่วนของน้ำหนักที่จะยก กับพิกัดเครน
14. การใส่ข้อมูลในแบบฟอร์มทำแผนการยก
15. การแรงกดที่ขาเครนสูงสุด (Outrigger Reaction Force)
16. วิธีหาความสามารถในการรับน้ำหนักของพื้นที่รองรับเครน (Ground Bearing Pressure)
17. การหาขนาดแผ่นรองขาเครน (Crane Mat Size)
Section D. (2 ชม.)
18. กฎพื้นฐานความปลอดภัยในการทำงานกับปั้นจั่น
19.การประเมินความเสี่ยงในการปฎิบัติงานกับปั้นจั่น
20.การจัดการความเสี่ยงสำหรับการทำงานแบบประจำ และไม่ประจำ
21.Site Review
22.การเตรียมงานก่อนทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
23.อันตรายที่เกิดขึ้นรอบๆพื้นที่ตั้งปั้นจั่น
Download หลักสูตร Mechanics Of Lifting 2022
สนใจอบรมติดต่อเราในช่องทางด่วนผ่านไลน์
โทรด่วน : 089-870-9778 คุณเจนจิรา
Email : janejira.c@craneprofessional.in.th